หน้าเว็บ

ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง


การวิเคราะห์จุดแข็ง วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง จุดอ่อน และแนวทางแก้ไข 



 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ์ และแผน จุดแข็ง           มีกระบวนการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ โดยการจัดทําตาราง เปรียบเทียบ เพื่อให้บุคลากรมองเห็นความเชื่อมโยงของพันธกิจ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และมีความเข้าใจใน การนําแผนฯ สู่การปฏิบัติ

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง           จัดทําโครงการใหม่เพื่อผลักดันกลยุทธ์

 จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

 องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนจุดแข็ง

1. มีกระบวนการจัดทํา Digital Collectionที่มีประสิทธิภาพ และบุคลากรมีความเชี่ยวชาญใน การแปลงผัน (Digitized) สิ่งพิมพ์และเอกสารมรดกให้เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์

2. จัดทําเมทาดาทา (metadata) ต้นแบบสําหรับการลงรายการเอกสารมรดก (Heritage manuscripts) ที่หน่วยงานอื่นสามารถใช้เป็นต้นแบบในการลงรายการ สําหรับสร้าง ฐานข้อมูลเอกสารมรดก

3. มีการสร้างฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสนับสนุนการเป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์             (e-Library) ได้แก่ CMU e-Theses, CMU e-Research, e-Rare Books e-Northern Information และ CMUL Digital Heritage Collection 4. มีการสร้างฐานข้อมูลอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) และฐานข้อมูลภูมิภาคอาเซียน สนับสนุน การเป็นศูนย์การศึกษากลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

5. เพิ่มแหล่งสารสนเทศให้แก่นักศึกษา อาจารย์ และนักวิจัย โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ในการวิเคราะห์และนํารายการทรัพยากรสารสนเทศ (Cataloging and Classifying) ของ ห้องสมุดพิพิธภัณฑ์ชาวเขา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) และมูลนิธิ โครงการหลวง ซึ่งสามารถสืบค้นได้ที่ฐานข้อมูล CMUL OPAC ผ่านเว็บไซต์สํานักหอสมุด

6. มีศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือที่ให้บริการทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และฐานข้อมูลข้อมูล ท้องถิ่นที่สร้างขึ้นเอง ให้บริการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

7. มีการผลิตและให้บริการไมโครฟิล์มหนังสือพิมพ์ไทยทุกฉบับ ซึ่งมีข้อมูลย้อนหลังกว่า 40 ปี

8. มีพัฒนาการด้านการบริการเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้รับบริการอย่างเด่นชัด ต่อเนื่อง จัดบริการเชิงรุกเพื่อสนับสนุนการวิจัย และมีการสร้างนวัตกรรมการบริการที่สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์และเป้าหมายที่มุ่งสู่การบริการที่เป็นเลิศ 9. เข้าร่วมเครือข่ายความร่วมมือกับห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา ห้องสมุดเฉพาะสาขาวิชาต่างๆ ทําให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 10. มีการนําผลการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) มาพัฒนาบริการและนวัตกรรมการ บริการใหม่ๆ การจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มการเข้าใช้ฐานข้อมูล (Database Rating) ในรูปแบบ ต่างๆ เช่น การตอบคําถามชิงรางวัล การเผยแพร่ข่าวสารจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ บริการข่าวสารผ่านจอ LCD

วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง

           เพิ่มการให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Services) จุดอ่อน          สัดส่วนของจํานวนทรัพยากรสารสนเทศกับจํานวนนักศึกษายังไม่เป็นไปตามมาตรฐานของ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา

 ข้อเสนอแนะ          สร้างความแข็งแกร่งของทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา

องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาและสนับสนุนนักศึกษา

 จุดแข็ง                           -

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง          - 

 จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย

 จุดแข็ง                           -

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง          - 

 จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ชุมชน

 จุดแข็ง                           -

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง          - 

 จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

 องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 จุดแข็ง                           -

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง          - 

จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

 องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

 จุดแข็ง

1. มีการนํากระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge management-KM) มาใช้เป็น               ส่วนหนึ่งของงานประจํา ทําให้เกิดการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ

2. มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคลากรทุกระดับมีความรู้  ทักษะในวิชาชีพ ห้องสมุด และความรู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน 

3. มีการสร้างขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน โดย (1) การยกย่อง ชมเชย และ                 มอบรางวัลแก่บุคลากรเป็นประจําทุกปี และ (2) เปลี่ยนตําแหน่งให้แก่บุคลากรกลุ่ม ลูกจ้างประจําให้มีตำแหน่งและให้ได้รับอัตราค่าจ้างสูงขึ้น 

จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

 องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

 จุดแข็ง 1. มีการนํากระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge management-KM) มาใช้เป็น               ส่วนหนึ่งของงานประจํา ทําให้เกิดการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ

2. มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทําให้บุคลากรทุกระดับมีความรู้  ทักษะในวิชาชีพ ห้องสมุด และความรู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน

3. มีการสร้างขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน โดย (1) การยกย่อง ชมเชย และ                 มอบรางวัลแก่บุคลากรเป็นประจําทุกปี และ (2) เปลี่ยนตําแหน่งให้แก่บุคลากรกลุ่ม ลูกจ้างประจําให้มตีําแหน่งและให้ได้รับอัตราค่าจ้างสูงขึ้น

วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง           สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับห้องสมุดสถาบัน/หน่วยงานอื่นๆ

 จุดอ่อน           การจัดทําฐานข้อมูลบุคลากร ยังไม่สามารถประมวลผลได้ตามต้องการ

 ข้อเสนอแนะ           หน่วยการเจ้าหน้าที่ต้องจัดทําฐานข้อมูลด้านบุคลากรให้สมบูรณ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ บริหารและการตัดสินใจ

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

 จุดแข็ง                               -

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง             -

 จุดอ่อน           ไม่มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินเสนอผู้บริหาร ทําให้ขาดข้อมูลการรายงานทางการเงินไป ใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจ

 ข้อเสนอแนะ           งานการเงินการคลังและพัสดุต้องวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินเพื่อประโยชน์ต่อการบริหาร จัดการและการตัดสินใจของผู้บริหาร

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

 จุดแข็ง                           

 1.  มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด  2.  มีการเตรียมความพร้อมในด้านการประกันคุณภาพการศึกษา โดยส่งบุคลากรตั้งแต่      ระดับหน้าหน้าฝ่ายขึ้นไป และบุคลากรที่รับผิดชอบด้านประกันคุณภาพการศึกษา               เข้าร่วมการอบรมการบริหารงานตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA)      อย่างต่อเนื่อง

 วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง          - 

 จุดอ่อน                          -

 ข้อเสนอแนะ                   -

ข้อเสนอแนะ

 ข้อเสนอแนะในการเขียนรายงานการประเมินตนเอง         -

 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะทั่วไป              -

 ข้อเสนอแนะต่อมหาวิทยาลัย              -
SWOT  องค์กรตนเอง
= STRENGTH    หมายถึง จุดแข็ง

ด้านเทคโนโลยี
          -มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องมือห้องปฏิบัติการต่างๆ  และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ด้านผู้บริหาร
          -มีโครงสร้างการบริหารงานอย่างชัดเจน
          -ผังองค์กรแบ่งฝ่ายการจัดการได้อย่างชัดเจนและเหมาะสม
ด้านสิ่งแวดล้อม
          -อยู่ในเขตโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องทำให้มีนักเรียนที่เข้าเรียนในระดับประถมจำนวนมาก
ด้านการจัดการเรียนการสอน
          -พัฒนาศักยภาพนักเรียนอย่างเหมาะสมตามวัย  พัฒนา ภาษาที่ ๓ ทั้ง จีน และญี่ปุ่น ให้สามารถสื่อสารได้


 W= WEAKNESS   หมายถึง จุดอ่อน

ด้านเทคโนโลยี
          -อุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้
ด้านผู้บริหาร
          -ผู้บริหารเป็นคนเดียวกับสาธิตบางเขน ในการตัดสินใจไม่สามารถตัดสินใจได้ทันที
ด้านสิ่งแวดล้อม
          -มีพื้นที่ค่อนข้างจำกัดและไม่สามารถขยายตัวของโรงเรียนได้
ด้านการจัดการเรียนการสอน
          -บุคลากรไม่เพียงพอ ส่วนหนึ่งขาดประสบการณ์ ในการสอน กระจายอำนาจไม่เท่าเทียมกัน
          -บุคลากรในโรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย และบุคลากรไม่คงที่



O= OPPORTUNITY    หมายถึง โอกาศ

ด้านเทคโนโลยี
          -มีบริษัทด้านนอกเข้ามาเสนอ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการ
ด้านผู้บริหาร
          -ผู้บริหารสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และมีการศึกษาดูงานกับต่างประเทศ
ด้านสิ่งแวดล้อม
          -ไม่มีคู่แข่งทางการศึกษาในพื้นที่มากนัก ทำให้มีจำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษามากขึ้น
          -มีระบบขนส่งนักเรียนจากกรุงเทพ ทำให้มีนักเรียนที่อยู่กรุงเทพ เดินทางเข้ามาเรียนเป็นจำนวนมาก
ด้านการจัดการเรียนการสอน
          -มีการแลกเปลี่ยนศึกษาดูงานของนักเรียนจากต่างประเทศ

T= THREAT   หมายถึง อุปสรรค์

ด้านเทคโนโลยี
          -อุปกรณ์มีการอัพเดตบ่อย และมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
ด้านผู้บริหาร
          -ผู้บริหารเดินทางไกลทำให้เรื่องบางเรื่องที่เร่งด่วนไม่สามารถดำเนินการได้ทันที
ด้านสิ่งแวดล้อม
          -เป็นโรงเรียนที่อยู่ในเคลือข่ายของโรงเรียนสาธิต บางเขน ในการจัดการบางอย่างเป็นไปอย่างลำบาก
          -อยู่ในเขตของโรงงานอุตสาหกรรมการเดินทางค่อนข้างลำบาก
ด้านการจัดการเรียนการสอน
          -ไม่มีนักศึกษาฝึกประสบการณ์ทำให้ขาดความสมดุลของการศึกษา ที่เรียกว่าโรงเรียนสาธิต
         


2.ทฤษฎีบริหารองค์กรสมัยใหม่

ทฤษฎีการบริหารแบบการตัดสินใจ
                   เฮอร์เบิร์ต เอ.ไซมอน (Herbert A. Simon) คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งทฤษฎีการตัดสินใจได้กล่าวว่า การบริหารก็คือการตัดสินใจนั่นเองทั้งนี้เนื่องจากว่าคนที่เป็นผู้บริหารจะต้องเผชิญกับภาวะที่จะต้องตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจากทางเลือกหลาย ๆ ทางที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นทางเลือกในการกำหนดแผนในการทำงาน หรือว่าทางเลือกในการแก้ไขปัญหาถ้านักบริหารสามารถที่จะเลือกทางเลือกที่ดีมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาได้ ก็จะสามารถทำให้งานบรรลุเป้าหมายได้ ถ้าเลือกทางเลือกที่ไม่ดีมา ก็ทำให้การทำงานล้มเหลว ดังนั้นในลักษณะการตัดสินใจ เพื่อให้ได้ทางเลือกที่ดี จะต้องมีขั้นตอนของการตัดสินใจที่สำคัญอยู่ 4 ขั้นตอน ดังนี้ คือ  (ธงชัย  สันติวงษ์,  2542,  หน้า  196)
                3.1.1  การพิจารณาถึงตัวปัญหา ในขั้นตอนแรกนี้ก็คือ นักบริหารที่เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ในการตัดสินใจ จะต้องสามารถระบุให้ทราบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้เสียก่อน ในขั้นตอนนี้เหมือนกับการที่หมอทำการวินิจฉัยโรค ถ้าหมอวินิจฉัยโรคได้ถูกก็จะทำให้กระบวนการรักษาที่ตามมาได้ผล แต่ถ้าวินิจฉัยโรคผิดกระบวนการรักษาโรคที่ตามมาก็จะผิดไปด้วย ทำให้การรักษาโรคล้มเหลว
                3.1.2  การพิจารณาค้นหาทางเลือก ทางเลือกในการแก้ปัญหาอาจจะมีหลายทาง มีกี่ทางเลือก เราจะต้องนำมาพิจารณาให้หมดเพราะจะทำให้เรามีทางเลือกที่หลากหลายขึ้น
                3.1.3 การประเมินผลทางเลือก คือการทำการพิจารณาทางเลือกแต่ละทางว่ามีข้อดีอย่างไรบ้าง ข้อเสียอย่างไรบ้าง ในขั้นตอนของการประเมินผลทางเลือก ถ้าจะให้ดีควรที่จะมีการนำเอาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาช่วยในการประเมินผลทางเลือกด้วย เพราะจะทำให้การตัดสินใจเลือกทางเลือกทำได้ง่ายขึ้น
                3.1.4 การตัดสินใจเลือกทางเลือกและการนำทางเลือกไปปฏิบัติ เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด และนำไปปฏิบัติเพื่อที่จะแก้ไขปัญหา แล้วตรวจสอบประสิทธิผลของการนำทางเลือกนั้นไปปฏิบัติ จากข้อมูลย้อนกลับ ของกระบวนการในการตัดสินใจ


ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/458799


3.บทความการบริหารงาน ICT

Juha Huovinen. Nov 15, 2010 Posted in category: 2010 Member Articles
Recognize the Four Categories of ICT Management
ICT Management can be divided into four categories according to how business minded they are. It is essential to have capabilities and expectations in balance.
RECOGNIZE YOUR CATEGORY
Category I: Knowledge Area
Information and Communications technology (ICT) requires specific skills in certain knowledge areas and the individuals responsible have these tasks included in their job descriptions. In some cases the tasks are not even written into the job description; however the individuals that perform these ICT tasks can be recognized. ICT can be identified as it’s own department, the ICT department, and it may have a named leader (typically an ICT Manager). Taking benefit of ICT technologies may even be very advanced, assuming the individuals are knowledgeable, they are sufficiently guided and they receive feedback from the business on their work.
Category II: Support Function
The Support function has sovereignty. Sovereignty means in this case that the ICT area has a defined area where it can manage it’s internal operations. A well managed support function is driven by the business, but the ICT operations themselves are managed independently. Support function is responsible for it’s own budget and is directly or indirectly represented in the Top Executive Management team of the company. The main objective of a support function is to ensure the ICT services are meeting business needs, are reliable and cost effective.
Category III: Management Function
Management function is at the same level as other business areas, and it strives to develop the competiveness of the business with ICT. It is common to include the development of processes in this function. The governance methods are typically clear and developed in order to ensure that the function remains efficient and results oriented amongst all business issues. The Management function has a seat in the Top Executive Management team.
Category IV: Business Function
ICT services are a key element of the company’s products or services offerings and a part of the income can be identified directly to it. The function is therefore a real profit center and it also carries a part of the business risk. ICT management can only become a business function in especially ICT intensive businesses. Incorporating ICT alone does not mean that it would automatically become abusiness function, the other criterias of this category must also be met.
SET YOUR EXPECTATIONS RIGHT!
It is of utmost importance to understand the functional areas for two reasons. 1) it helps to set the objectives correctly and 2) it helps to understand what you can expect from ICT.
Category I: Knowledge Area Is Not a Development Organization
It is fully acceptable for ICT to be ‘just’ a knowledge area, if it is not expected to develop and renew the company’s critical IT systems. It will take care of all of the tasks it is assigned. It is worth noting that projects and programs are not routine tasks and you cannot expect ICT to be able to manage them. If you expect this type of ICT organization to renew for instance an ERP system, the company’s management has made a critical miss-judgment. Managing a program would almost certainly be problematic. For a small company the knowledge areacategory is often sufficient.
Category II: Support Function Contributes with ICT Services and Solutions
In midsize and large companies development is continuous and therefore ICT Management should be at least at the level of support function. In this case the question is where can you find the appropriate leadership and experience to manage it all? The Management has to have a true capability to manage this function. It requires strategic thinking, management of operations, leadership skills and the ability for ensure business alignment. ICT should be able to manage projects, but you cannot expect business development from it. In an ERP project ICT can be expected to manage the program’s technical part, as long as the business manages the processes and new business models and the program’s overall management.
Category III: Management Function Develops Business
In order to be a Management function ICT needs to be a highly developed specialist organization. What you could expect from a support function’sleadership is expected from all the key positions in the Management function. To create such a specialist organization is a long process and demands significant financial investment and strong support from the top leadership. It is very hard to create a Management function in a company which does not have other developed specialist organizations. When an ICT is a Management function, it is also capable of delivering challenging business development programs.
Category IV: Business Function Delivers Revenue
The management capability of a business function is typically somewhere between a support function and a management function. There is also a strong emphasis on service oriented skills to deliver end customer value.

Juha Huovinen 15 พฤศจิกายน 2553  โพสต์ในหมวดหมู่: 2010 บทความสมาชิก
ตระหนักถึงสี่ประเภทของการจัดการไอซีที
การจัดการด้านไอซีทีสามารถแบ่งออกได้เป็นสี่ประเภทตามความมุ่งมั่นทางธุรกิจ เป็นสิ่งจำเป็นที่จะมีความสามารถและความคาดหวังในความสมดุล
จดจำหมวดหมู่ของคุณ
หมวดที่ 1 : พื้นที่ความรู้ 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จำเป็นต้องใช้ทักษะเฉพาะด้านความรู้บางอย่างและบุคคลที่รับผิดชอบมีภารกิจเหล่านี้รวมอยู่ในคำอธิบายลักษณะงานของตน ในบางกรณีงานจะไม่ได้เขียนลงในรายละเอียดงาน อย่างไรก็ตามบุคคลที่ปฏิบัติงาน ICT เหล่านี้สามารถรับรู้ได้ ICT สามารถระบุได้ว่าเป็นแผนกของตนเองฝ่าย ICT และอาจมีชื่อผู้นำ (โดยปกติจะเป็นผู้จัดการ ICT) การได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีไอซีทีอาจเป็นไปได้สูงมากโดยสมมติว่าบุคคลเหล่านี้มีความรู้ความเชี่ยวชาญพวกเขามีแนวทางที่เพียงพอและได้รับการตอบรับจากธุรกิจเกี่ยวกับงานของพวกเขา
หมวดที่ 2: ฟังก์ชันสนับสนุน
ฟังก์ชันการสนับสนุน มีอำนาจอธิปไตย อธิปไตยหมายถึงในกรณีนี้ว่าพื้นที่ ICT มีพื้นที่ที่กำหนดซึ่งสามารถจัดการการดำเนินงานภายในได้ ฟังก์ชั่นการสนับสนุนที่ ได้รับการจัดการอย่างดีเป็นผลมาจากธุรกิจ แต่การดำเนินงานด้าน ICT ถือได้ด้วยตนเองอย่างอิสระ หน้าที่การสนับสนุน รับผิดชอบงบประมาณของตัวเองและเป็นตัวแทนโดยตรงหรือโดยอ้อมในทีมผู้บริหารระดับสูงของ บริษัท วัตถุประสงค์หลักของการ สนับสนุน คือเพื่อให้แน่ใจว่าบริการ ICT มีการตอบสนองความต้องการทางธุรกิจมีความน่าเชื่อถือและคุ้มค่า
หมวด 3: หน้าที่การจัดการ
การบริหารจัดการ อยู่ในระดับเดียวกับธุรกิจอื่น ๆ และมุ่งมั่นที่จะพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นเรื่องปกติที่จะรวมถึงการพัฒนากระบวนการในการทำงานนี้ วิธีการกำกับดูแลโดยทั่วไปมีความชัดเจนและพัฒนาขึ้นเพื่อให้มั่นใจว่าฟังก์ชันนี้จะยังคงมีประสิทธิภาพและมุ่งเน้นในทุกประเด็นทางธุรกิจ ฝ่ายบริหาร มีที่นั่งอยู่ในทีมผู้บริหารระดับสูง
ประเภทที่ 4: หน้าที่ทางธุรกิจ
บริการด้าน ICT ถือเป็นองค์ประกอบหลักของผลิตภัณฑ์หรือบริการของ บริษัท และส่วนหนึ่งของรายได้สามารถระบุได้โดยตรง จึงเป็นศูนย์กำไรที่แท้จริงและถือเป็นส่วนหนึ่งของความเสี่ยงทางธุรกิจ การจัดการไอซีทีสามารถทำหน้าที่เป็นธุรกิจเฉพาะในธุรกิจที่มีความเข้มข้นสูงได้ การผสมผสาน ICT อย่างเดียวไม่ได้หมายความว่าจะกลายเป็น หน้าที่ทางธุรกิจ โดยอัตโนมัตินอกจากนี้เกณฑ์อื่น ๆ ของประเภทนี้จะต้องได้รับการตอบสนองด้วย
กำหนดความคาดหวังของคุณถูกต้อง!
สิ่งสำคัญที่สุดคือต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ทำงานด้วยเหตุผลสองประการ 1) ช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์ได้อย่างถูกต้องและ 2) ช่วยให้เข้าใจถึงสิ่งที่คุณคาดหวังได้จาก ICT
หมวดที่ 1: พื้นที่ความรู้ไม่ใช่องค์กรพัฒนา
เป็นที่ยอมรับอย่างเต็มที่สำหรับ ICT เป็นเพียงแค่ พื้นที่ความรู้ ถ้าไม่คาดว่าจะพัฒนาและต่ออายุระบบไอทีที่สำคัญของ บริษัท จะดูแลงานทั้งหมดที่ได้รับมอบหมาย เป็นที่น่าสังเกตว่าโครงการและโครงการไม่ใช่งานประจำและคุณไม่สามารถคาดหวังว่า ICT จะสามารถจัดการได้ หากคุณคาดหวังว่าองค์กร ICT ประเภทนี้จะต่ออายุระบบ ERP ตัวอย่างเช่นผู้บริหารของ บริษัท ก็ได้ตัดสินใจที่จะตัดสินผิดพลาด การจัดการโปรแกรมเกือบจะเป็นปัญหา สำหรับ บริษัท ขนาดเล็กประเภทของ พื้นที่ความรู้ มักจะเพียงพอ
หมวดที่ 2: ฟังก์ชันการสนับสนุนร่วมกับบริการและโซลูชั่นด้านไอซีที
ในการพัฒนา บริษัท ขนาดกลางและขนาดใหญ่เป็นเรื่องต่อเนื่องดังนั้นการบริหารจัดการไอซีทีควรมีอย่างน้อยที่สุดในระดับของ ฟังก์ชันการสนับสนุน ในกรณีนี้คำถามคือคุณสามารถหาผู้นำที่เหมาะสมและประสบการณ์ในการจัดการทั้งหมดได้อย่างไร ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการบริหารจัดการฟังก์ชันนี้อย่างแท้จริง ต้องมีการคิดเชิงกลยุทธ์การจัดการการปฏิบัติงานทักษะการเป็นผู้นำและความสามารถในการจัดตำแหน่งทางธุรกิจ ICT จะสามารถจัดการโครงการได้ แต่คุณไม่สามารถคาดหวังการพัฒนาธุรกิจได้ ในโครงการ ERP ICT สามารถคาดหวังว่าจะจัดการด้านเทคนิคของโปรแกรมตราบเท่าที่ธุรกิจจัดการกระบวนการและรูปแบบธุรกิจใหม่ ๆ และการจัดการโดยรวมของโปรแกรม
หมวดที่ 3: ฟังก์ชันการจัดการพัฒนาธุรกิจ
เพื่อให้เป็น ฟังก์ชั่นการจัดการ ไอซีทีจำเป็นต้องเป็นองค์กรผู้เชี่ยวชาญที่มีการพัฒนาสูง สิ่งที่คุณคาดหวังได้จาก การเป็น ผู้นำด้าน การสนับสนุน ความคาดหวังจากทุกตำแหน่งที่สำคัญใน ฟังก์ชัน การจัดการ การสร้างองค์กรผู้เชี่ยวชาญดังกล่าวเป็นกระบวนการที่ยาวนานและต้องการการลงทุนด้านการเงินที่สำคัญและการสนับสนุนที่ดีจากความเป็นผู้นำด้านบน เป็นเรื่องยากที่จะสร้าง ฟังก์ชั่นการจัดการ ใน บริษัท ที่ไม่มีองค์กรผู้เชี่ยวชาญที่มีการพัฒนาอื่น ๆ เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น ฟังก์ชั่นการบริหารจัดการ (Management ) ก็มีความสามารถในการนำเสนอโครงการพัฒนาธุรกิจที่ท้าทาย

หมวดที่4 : ฟังก์ชั่นธุรกิจมอบรายได้ มอบรายได้
ความสามารถในการจัดการของ ฟังก์ชันทางธุรกิจ โดยทั่วไปจะอยู่ที่ไหนสักแห่งระหว่าง ฟังก์ชันการสนับสนุนและ ฟังก์ชัน การ จัดการ นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับทักษะด้านการบริการเพื่อให้ได้คุณค่าสูงสุด

ที่มา https://www.itforbusiness.org/article/recognize-the-four-categories-of-ict-management/



4.โครงพัฒนา

โครงการพัฒนาห้องเรียนนาฏศิลป์
หลักการและเหตุผล
โรงเรียนได้เปรียบเสมือนบ้านหลังที่ 2 ของนักเรียนห้องเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใกล้ตัวที่สุด ห้องเรียนที่มีความพร้อมจะส่งผลการเรียนรู้เป็นประสิทธิภาพมากที่สุด จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน พร้อมที่จะพัฒนานักเรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนสร้างนิสัยให้นักเรียนรู้จักศึกหาความรู้ด้วยตัวเอง
          นาฏศิลป์เป็นศิลปวัฒนธรรมประจำชาติไทยที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานหลายศตวรรษ  ถือเป็นมรดกที่นับวันยิ่งสูญหายหากขาดคนสืบทอด  จึงถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์  ให้ผู้เรียนเข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์  อย่างสร้างสรรค์  เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์เป็นมรดกวัฒนธรรม  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ภูมิปัญญาไทยมีความภูมิใจในการมีส่วนกับกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรม สืบสานและเผยแพร่ศิลปะประจำชาติ ( มาตรฐาน ศ 3.1 3.2 )
          เนื่องจากห้องเรียนนาฏศิลป์ ขาดอุปกรณ์ที่ช่วยส่งเสริมความรู้ เช่น โทรทัศน์ ชุดเครื่องเสียง  ไมโครโฟน เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ผู้จัดทำโครงการจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาห้องเรียนนาฏศิลป์ โดยจัดซื้อ  จอ LED Full color  ชุดเครื่องเสียง ไมโครโฟน ส่งเสริมต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานาฏศิลป์ ณ ห้องนาฏศิลป์ อาคารหอประชุมเกื้อกูล ทาสิทธิ์ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โครงการการศึกษาพหุภาษา ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุขและเกิดประสิทธิภาพในการเรียนมากขึ้น
วัตถุประสงค์
          1.เพื่อปรับปรุงห้องเรียน สื่อการเรียนรู้ให้มีสภาพพร้อมใช้งานได้อยู่เสมอ
          2.เพื่อให้นักเรียนกระตือรือร้นสนใจในการเรียน รายวิชานาฏศิลป์
          3.เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชานาฏศิลป์
          4.เพื่อให้นักเรียนซาบซึ้งสุนทรียศาสตร์ด้านนาฏศิลป์
เป้าหมาย
1.พัฒนาสภาพห้องเรียน และสื่อการเรียนรู้ ให้ได้มาตรฐาน เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน
2.การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ ส่งผลต่อคุณภาพ ของผู้เรียน
ระยะเวลาการดำเนินการ
1 สิงหาคม 2560 – 31 มีนาคม 25661

ลำดับ
กิจกรรม
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2561
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย
1
ศึกษาข้อมูลและขออนุมัติโครงการ








2
ดำเนินการ








3
ติดตามประเมินผล








4
สรุปและรายงานผล













งบประมาณ
ลำดับ
หมวดค่าใช้จ่าย
จำนวนเงิน
แหล่งของเงินที่ใช้สำหรับทำโครงการ
หมายเหตุ
เงินรายได้โรงเรียนสาธิต ฯ
เงินสนับสนุนจากสมาคมครูและผู้ปกครอง
เงินสนับสนุนจากผู้ปกครองเด็ก
เงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1
ค่าตอบแทน
-
-
-
-
-

2
ค่าใช้สอย
-
-
-
-
-

3
ค่าวัสดุ
1,00,000
1,000,000




4
อื่นๆ ( ระบุ )
-
-
-
-
-


รวมเงิน
1,00,000
1,000,000





สถานที่ดำเนินการ
          ณ ห้องนาฏศิลป์ อาคารหอประชุมเกื้อกูล ทาสิทธิ์ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โครงการการศึกษาพหุภาษา ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
วิธีการติดตามและประเมินผล
          1.ประชุมหัวหน้างาน/ฝ่ายบริหาร เพื่อกำหนดรูปแบบและมาตรฐานห้องเรียน
          2.สำรวจพื้นที่เพื่อออกแบบ/เขียนแบบรายละเอียดการพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพห้องเรียน
          3.จัดเตรียมพื้นที่/วัสดุ/อุปกรณ์
          4.ดำเนินการพัฒนาห้องเรียนตามแผนงาน
          5.ตรวจสอบสภาพห้องเรียนหลังพัฒนา
          6.สรุปและรายงานผลการพัฒนาห้องเรียนแต่ละห้อง และการพัฒนาในภาพรวม
ประสิทธิภาพ   
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
- ห้องนาฏศิลป์ พัฒนาสภาพห้องเรียน และสื่อการเรียนรู้ ให้ได้มาตรฐาน เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน
-  ระดับความพึงพอใจของนักเรียน
- การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ ส่งผลต่อคุณภาพ ของผู้เรียน
-  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
          1.ห้องเรียน สื่อการสอนมีสภาพพร้อมใช้งาน
          2.นักเรียนกระตือรือร้นสนใจในการเรียน รายวิชานาฏศิลป์
          3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชานาฏศิลป์
          4.นักเรียนมีความซาบซึ้งสุนทรียศาสตร์ด้านนาฏศิลป์
ผู้รับผิดชอบโครงการ
          1.นายกิตติพงศ์   เลิศศิริกรณ์เดชา 6014650580
          2.นายชัยภักดิ์    จำนงชอบ        6014650601
          3.น.ส.ทาริกา     คัดชา             6014650661


ความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยง
ความเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยง
มาตรการการควบคุมและวิธีจัดการความเสี่ยง
คุณภาพของ จอ LED Full color  ชุดเครื่องเสียง ไมโครโฟน
เลือกบริษัทจัดซื้อ จอ LED Full color  ชุดเครื่องเสียง ไมโครโฟน ที่มีความเชื่อถือได้และมีการรับประกัน เป็นระยะเวลานาน
ติดตั้งอุปกรณ์ล่าช้าไม่ตรงเวลา
กำหนดระยะเวลาการติดตั้งที่ชัดเจน
มีเอกสารการส่งมอบที่เป็นลายลักษณ์อักษร
ความคุมค่าในการใช้งาน จอ LED Full color  ชุดเครื่องเสียง ไมโครโฟน
วิชาอื่นๆ สามารถของใช้ห้องนาฏศิลป์ร่วมด้วย

ห้องนาฏศิลป์



 จอ LED Full color

ห้องนาฏศิลป์ จอ  LED Full color

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น